About สงครามในพม่า
About สงครามในพม่า
Blog Article
สร้างบัญชี เข้าสู่ระบบ เครื่องมือส่วนตัว สร้างบัญชี
หลังจากที่ได้รับข่าวจะมีการสู้รบในพื้นที่เมียวดี หลายคนข้ามชายแดนมาอาศัยบ้านญาติ และอยู่กันมานานหลายเดือนก่อนกลับไปดูบ้าน บ้างก็พบว่าบ้านเรือนถูกงัด และบางครอบครัวพบว่าบ้านถูกระเบิดไปแล้ว
“ซึ่งผมมองว่ามันน่าจะมีการกำหนดรัศมีเขตห้ามบินของทหารพม่า เพื่อความปลอดภัยของพลเรือน ที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสงครามในครั้งนี้ ซึ่งมีทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ คนชรา คนพิการ คนไข้คนป่วย ต้องมาเจอกับความสูญเสียนี้ด้วย ที่ผ่านมา ก็เคยเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของทหารพม่าบินเลยเข้ามาในเขตน่านฟ้าของประเทศไทยในสมัยรัฐบาลประยุทธ์ ซึ่งก็มีการแก้ตัวกันขุ่นๆ ว่าไม่รู้ ซึ่งตนมองว่านี่เป็นการแก้ตัวแทนให้ทางทหารพม่ามากกว่า โดยที่พม่าไม่ได้ออกมาพูดแม้แต่คำเดียว แทนที่จะออกมาปกป้องอธิปไตย แต่กลายมาเป็นการอธิบายแทนทหารพม่า โดยที่ทางพม่าไม่ได้ออกมาตอบโต้อะไรสักอย่าง ดังนั้น ผมอยากเสนอให้ทางอาเซียน และประชาคมโลก เข้ามาดำเนินการกดดัน จัดการปัญหาสงครามในพม่าไปเลย โดยเฉพาะเข้าไปจัดการปัญหาเรื่องของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า อยากให้เข้าไปกดดัน หรือนำกองกำลังของนานาชาติเข้าไปควบคุมเลย”
ชีวิตข้างกองพิษ “ความไม่ยุติธรรม” ของคนตาก จากเหมืองแม่ตาวถึงกากแคดเมียม
ทั้งนี้ มีการวางเป้าหมายไว้ว่าหลินชางจะเป็นเมืองศูนย์กลางของจีนสำหรับเชื่อมกับมหาสมุทรอินเดีย ผ่านรูปแบบการคมนาคมที่หลากหลาย ทั้งทางเรือ ถนน และรถไฟ โดยมีปลายทางในจีนอยู่ที่เมืองเฉิงตู มณฑลเสฉวน
ธุรกิจที่เฟื่องฟูอย่างมากที่ “เล่าก์ก่าย” ยังดึงดูด บรรดา “จีนเทา” หรือกลุ่มผู้ที่ทำผิดกฎหมาย หรือ อาชญากรชาวจีนที่หลบลี้หนีรอดการจับกุมจากในประเทศจีน เข้ามาแสวงหาพื้นที่ทำมาหากินที่เมืองชายแดนในประเทศพม่าแห่งนี้ด้วย
พลเรือนในเมืองสีแส่ง ลี้ภัยสงครามซ้ำสอง หลังเกิดการสู้รบครั้งใหม่
เช่น ข้าวสาร เกลือ น้ำมัน พริกแห้ง ปลากระป๋อง บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เสื่อสำหรับปูนอน ฯลฯ และติดตั้งเครื่องกรองน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ในพื้นที่พักพิงที่มีแหล่งน้ำ เพื่อการช่วยเหลือระยะยาวและลดปริมาณขยะพลาสติก
เส้นสีส้ม แสดงการเคลื่อนตัวของทัพพม่า
‘มาเลเซีย’ ผุดไอเดีย ส่ง ‘อุรังอุตัง’ สานสัมพันธ์ ประเทศคู่ค้า ‘น้ำมันปาล์ม’
คำบรรยายวิดีโอ, "อารยะขัดขืน" ต้านยึดอำนาจในเมียนมา
เหตุผลง่ายๆ ชัดๆ ที่ทำให้ ประชาชนในพม่า ‘ไต้หวัน’ อยู่ในฐานะเป็น ‘ชาติที่ใครๆ (ก็) มองไม่เห็น’
ขณะเดียวกัน “โฆษกของกองทัพพม่า” ได้แถลงผ่านสื่อของของทางการว่า สงครามครั้งนี้มีการแทรกแซงจากต่างชาติ ให้การสนับสนุนเงินทุนและอาวุธ แต่ก็ไม่ได้กล่าวถึงประเทศไหนโดยตรง
การตีเขมรในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระองค์ได้เสด็จยกทัพไปตีเขมร ซึ่งเป็นประเทศราชของกรุงศรีอยุธยา แต่ได้แข็งเมืองมาตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ทำให้เขมรกลับมาเป็นหัวเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยาดังเดิม ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ หัวเมืองประเทศราชทางใต้ คิดกบฏยกทัพไปตีเมืองสงขลาและเมืองพัทลุง พระองค์ได้ส่งกองทัพไปปราบปรามได้ราบคาบ แต่ในขณะเดียวกันก็เสียเมืองเชียงใหม่ และหัวเมืองล้านนาแก่พม่า